ทำความเข้าใจกับ Ichimoku
Ichimoku ประกอบด้วยเส้น EMA หลายๆ เส้นมาใช้รวมกัน โดยสามารถใช้เป็นแนวรับแนวต้าน เส้นแบ่งเทรนว่าเป็นขาขึ้นหรือขาลงได้
แต่ละเส้นมีดังนี้
1. Tenkan-sen
2. Kijun-sen
3. Senkou Span A
4. Senkou Span B
5. Chikou Span
Ichimoku ประกอบด้วยเส้น EMA หลายๆ เส้นมาใช้รวมกัน โดยสามารถใช้เป็นแนวรับแนวต้าน เส้นแบ่งเทรนว่าเป็นขาขึ้นหรือขาลงได้
แต่ละเส้นมีดังนี้
1. Tenkan-sen
2. Kijun-sen
3. Senkou Span A
4. Senkou Span B
5. Chikou Span
วิธีการใช้งาน Ichimoku
เรามักจะใช้เป็นคู่

คู่แรกคือเส้น 1 และ 2 คือ Tenkan-sen และ Kijun-sen เรามักจะดูการตัดกันของ 2 เส้นนี้เป็นสัญญาณซื้อขายดังนี้
Buy : เมื่อเส้น Tenkan-sen หรือเส้นแดงตัดเส้น Kijun-sen หรือเส้นน้ำเงินขึ้น
Sell : เมื่อเส้น Tenkan-sen หรือเส้นแดงตัดเส้น Kijun-sen หรือเส้นน้ำเงินลง
เรามักจะใช้เป็นคู่

คู่แรกคือเส้น 1 และ 2 คือ Tenkan-sen และ Kijun-sen เรามักจะดูการตัดกันของ 2 เส้นนี้เป็นสัญญาณซื้อขายดังนี้
Buy : เมื่อเส้น Tenkan-sen หรือเส้นแดงตัดเส้น Kijun-sen หรือเส้นน้ำเงินขึ้น
Sell : เมื่อเส้น Tenkan-sen หรือเส้นแดงตัดเส้น Kijun-sen หรือเส้นน้ำเงินลง

คู่ที่ 2 คือเส้น Senkou Span A และ Span B จะดูเป็นคู่ที่มีเมฆอยู่ตรงกลางระหว่าง 2 เส้นนี้ คู่นี้จะใช้ในการบอกเทรนว่าตอนนี้อยู่ในขาขึ้นหรือขาลง หากราคาอยู่เหนือเมฆจะเล่นแต่ Long เท่านั้น หากราคาอยู่ใต้เมฆจะเล่นแต่ short เท่านั้นเช่นกัน
นอกจากนี้ยังดูความหนาของเมฆด้วย หากเมฆมีความหนามาก ก็จะเป็นแนวรับแนวต้านได้ดีกว่า หากเมฆแคบ ก็จะทำให้ราคาทะลุผ่านไปได้ง่าย
การนำมาใช้รวมกันทั้ง 5 เส้น

ในช่วงแรกนี้จะเห็นว่า set กำลังปรับขึ้น เส้น Tenkan-sen หรือเส้นแดงตัดเส้น Kijun-sen หรือเส้นน้ำเงินขึ้น และเมฆแคบ โอกาสที่จะทะลุขึ้นไปมีมาก จึงเข้า Long ไม้แรก
จากนั้นเมื่อ set ทะลุขึ้นไปเหนือเมฆได้ จึง Long ไม้ที่ 2
ในจุดที่ 3 เส้น Tenkan-sen หรือเส้นแดงตัดเส้น Kijun-sen หรือเส้นน้ำเงินขึ้นไปอีกครั้งจึงสามารถ Long เพิ่มได้ (ไม่เพิ่มก็ได้)

ในช่วงแรกนี้จะเห็นว่า set กำลังปรับขึ้น เส้น Tenkan-sen หรือเส้นแดงตัดเส้น Kijun-sen หรือเส้นน้ำเงินขึ้น และเมฆแคบ โอกาสที่จะทะลุขึ้นไปมีมาก จึงเข้า Long ไม้แรก
จากนั้นเมื่อ set ทะลุขึ้นไปเหนือเมฆได้ จึง Long ไม้ที่ 2
ในจุดที่ 3 เส้น Tenkan-sen หรือเส้นแดงตัดเส้น Kijun-sen หรือเส้นน้ำเงินขึ้นไปอีกครั้งจึงสามารถ Long เพิ่มได้ (ไม่เพิ่มก็ได้)

รูปนี้เป็นเหตุการณืต่อเนื่องจากรูปที่แล้ว (ข้างบน) หลังจากที่ Long มาได้ระยะหนึ่ง set เริ่มมีการพักตัว เส้น Tenkan-sen หรือเส้นแดงตัดเส้น Kijun-sen หรือเส้นน้ำเงินลง ให้ปิดสถานะทำกำไรไปส่วนหนึ่งแล้วเฝ้าดูสถานการณ์
ต่อมา set ลงมาอยู่ในเมฆต้องเฝ้าระวังหากทะลุเมฆลงไปได้จะต้องปิด Long แล้วเปลี่ยนเป็นเปิด Short แทน แต่ในกรณีนี้ set กลับขึ้นไปได้ จึงไม่ต้องปิด และ set กลับมาเหนือเมฆได้อีกครั้งจึงสามารถเปิด Long เพิ่มได้

อีกตัวอย่างหนึ่ง ในจุดแรกเส้น Tenkan-sen หรือเส้นแดงตัดเส้น Kijun-sen หรือเส้นน้ำเงินลง เป็นสัญญาณให้ปิดสถานะหรือเปิด short ได้
ต่อมา set ทะลุเมฆลงมาให้เปิด short จากนั้นมีเด้งกลับไปแต่ไม่ทะลุเมฆขึ้นไป แล้วย้อนลงมาใหม่ สามารถ short เพิ่มได้
สรุป
1. เส้น Tenkan-sen และ Kijun-sen ตัดกัน ซื้อ/ขาย
2. เหนือเมฆเล่นแต่ทาง Long ใต้เมฆเล่นแต่ทาง Short
3. เมฆเขียวแต่ราคาอยู่ใต้เมฆต้องระวัง หรือเมฆแดงแต่ราคาอยู่เหนือเมฆต้องระวัง
4. Chikou Span ตัดราคาขึ้น Long ตัดราคาลง Short
1. เส้น Tenkan-sen และ Kijun-sen ตัดกัน ซื้อ/ขาย
2. เหนือเมฆเล่นแต่ทาง Long ใต้เมฆเล่นแต่ทาง Short
3. เมฆเขียวแต่ราคาอยู่ใต้เมฆต้องระวัง หรือเมฆแดงแต่ราคาอยู่เหนือเมฆต้องระวัง
4. Chikou Span ตัดราคาขึ้น Long ตัดราคาลง Short
วิธีการใช้งาน ichimoku ก็มีเพียงเท่านี้ ซึ่งลุงถือว่าไม่ยากเลยครับ เพราะเครื่องมือตัวนี้สามารถแบ่งเบาภาระไปได้หลายอย่างเลย ใครมีอะไรสงสัยสอบถามลุงได้ที่แฟนเพจ ฅนเล่นหุ้นเลยเน้อ
ติดตามต่อได้ที่ เพจ ฅนเล่นหุ้น
ขอขอบคุณบทความจาก : http://www.investfordummy.com/technical-analysis/ichimoku.html